

การตรวจสอบอาคารตามกฎหมายต้องตรวจสอบอะไรบ้าง
การตรวจสอบอาคารมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจเรื่องความปลอดภัยและการใช้งานอย่างถูกต้อง ไม่ใช่การตรวจสอบความถูกต้องตามกฎหมายหรือเพื่อจับผิดอาคาร ตรวจสอบได้เฉพาะในบริเวณ/ส่วนที่ไม่เป็นอันตรายกับผู้ตรวจสอบ ไม่ตรวจสอบสิ่งที่อาจก่อให้เกิดอันตราย หรือเกิดความเสียหายแก่อาคารหรือทรัพย์สิน การตรวจสอบอาคาร ไม่ว่าจะเป็นการตรวจสอบใหญ่หรือการตรวจสอบประจำปี จะมีการตรวจสอบอาคารและอุปกรณ์ประกอบของอาคารเพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้อาคาร โดยมีรายละเอียดทั้งหมด 4 ด้าน ดังนี้ 1. การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรง


ขั้นตอนการตรวจสอบอาคาร
1. เจ้าของอาคารจัดหาผู้ตรวจสอบอาคารมาตรวจสอบอาคาร โดยต้องเป็นผู้ตรวจสอบอาคารที่ขึ้นทะเบียนกับกรมโยธาธิการและผังเมือง 2. จัดทำหรือหาแบบแปลน เพื่อใช้สำหรับการตรวจสอบอาคาร โดยแปลนพื้นที่ทุกชั้นต้องแสดงตำแหน่งของอุปกรณ์ดับเพลิง เส้นทางหนีไฟ และบันไดหนีไฟ 3. ผู้ตรวจสอบจะทำการตรวจแบบและเอกสารที่เกี่ยวข้อง อาทิ รายงานการตรวจบำรุงรักษาอาคารและอุปกรณ์ประกอบของอาคารที่ผ่านมา จากนั้นจึงเข้าไปตรวจสอบอาคารตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด 4. ผู้ตรวจสอบอาคารจัดทำรายงานผลการตรวจสอบอาคารและอุปกรณ์ป


ประเภทของอาคารที่ต้องจัดให้มีการตรวจสอบตาม พรบ.ควบคุมอาคาร
การตรวจสอบอาคารเปรียบเสมือนการตรวจสุขภาพร่างกาย ซึ่งควรได้รับการตรวจประจำอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง แม้ไม่เคยเจ็บป่วย แต่หากมีอาการแสดงออกก็สามารถรักษาได้ทันท่วงที อาคารก็เช่นเดียวกัน เมื่อมีการเปิดใช้งานอาคารก็ควรมีการตรวจสอบสภาพอย่างสม่ำเสมอว่ามีส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคารผิดปกติหรือไม่ เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมอาคารให้มีความปลอดภัยและคงทนต่อการใช้งาน ปัจจุบันมีอาคาร 9 ประเภทที่ต้องจัดให้มีการตรวจสอบตามกฎหมาย ได้แก่ 1. อาคารสูง หมายถึง อาคารที่บุคคลอาจเข้าอยู่หรือใช้สอยได้ โ


แนวทางการจัดทำแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
รวบรวมและเรียบเรียงโดย บริษัท วอรันเทค จำกัด #แผนฉกเฉน #แผนปองกนและระงบอคคภย #แผนซอมอพยพหนไฟ


ลมมา ระวังป้ายล้ม!
นอกจากอาคารแล้ว เราต้องตรวจสอบป้ายโฆษณาต่างๆ ให้มั่นใจว่ามีความแข็งแรงเพียงพอที่จะต้านแรงลมได้ โดยต้องมีการตรวจสอบการก่อสร้างให้ถูกต้องตามกฎหมาย คือ 1. ป้ายโฆษณาที่ติดตั้งบนอาคาร ได้แก่ ป้ายที่ติดตั้งขึ้นบนหลังคาหรือดาดฟ้าของอาคาร กำหนดให้มีความสูงไม่เกิน 6 เมตรจากส่วนสูงสุดของหลังคาหรือดาดฟ้าอาคาร ป้ายที่ยื่นจากผนัง ซึ่งกำหนดให้ยื่นได้ไม่เกินแนวกันสาดสูงไม่เกิน 1 เมตร หรือมีพื้นที่ป้ายไม่เกิน 2 ตารางเมตร ป้ายที่ติดตั้งเหนือกันสาด กำหนดให้สูงไม่เกิน 1 เมตร หรือมีพื้นที่ป้ายไม


การออกแบบอาคารแบบบูรณาการ
การออกแบบอาคารแบบบูรณาการ หมายถึง กระบวนการออกแบบอาคารที่คำนึงถึงการผสมผสานวิธีการในการออกแบบทุกๆ ระบบเข้าด้วยกัน หรือออกแบบให้ทุกๆ ระบบมีความสอดคล้องกัน โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อให้อาคารมีประสิทธิภาพด้านการประหยัดพลังงานสูงสุด ขณะที่มีค่าใช้จ่ายในการออกแบบและก่อสร้างอาคารต่ำ
ปัจจัยที่ทำให้การออกแบบอาคารแบบบูรณาการประสบความสำเร็จ คือ การมีส่วนร่วมของบุคลากรที่รับผิดชอบงานด้านต่างๆ กัน เช่น สถาปัตยกรรม วิศวกรรม ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ระบบปรับอากาศ ตกแต่งภายใน การปรับปรุงภูมิทัศน์ ฯล


อาคารเก่า กับกฎกระทรวงฉบับที่ 47
หากอาคารเก่าของท่านได้ก่อสร้าง ดัดแปลงหรือเคลื่อนย้ายก่อนการบังคับใช้ของพรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 หรือกฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) มีสภาพหรือมีการใช้ในลักษณะที่ไม่ปลอดภัย และอาคารของท่านเข้าข่ายเป็นอาคารสูง (เกิน 23 เมตร), อาคารขนาดใหญ่พิเศษ (พื้นที่ใช้สอยรวมทุกชั้นเกิน 10,000 ตร.ม.), อาคารอยู่อาศัยโดยรวม (หอพัก, อพาร์ทเมนท์), โรงงาน, ภัตตาคาร และสำนักงาน
ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 47 (พ.ศ.2540) กำหนดให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอำนาจสั่งให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารดำเนินการแก้ไขอา